There are several Cashew Nut shops in Phuket so the best thing is to go to the one nearest to you!
The Cashew Tree grows right here in Phuket and it wasn't until I lived here and saw the actual tree that I realised that the nut was actually outside of the fruit (known as a Cashew Apple) as you can see in the photo below. The fruit itself is bell-shaped and the nut hangs below it. When the fruit is ripe the nuts are collected and taken through a difficult process before being turned into the tasty Cashew Nuts that we all know and love. A visit to a factory will make you realise that it is quite a job to get the nut into an edible form.
The nut ( technically a seed) has a hard shell that needs to be prised open and, if that was not hard enough, the sap can cause skin irritation and lung reactions during roasting.
"The seed is surrounded by a double shell containing an allergenic phenolic resin, anacardic acid, a potent skinirritant chemically related to the more well known allergenic oil urushiol which is also a toxin found in the related poison ivy. Properly roasting cashews destroys the toxin, but it must be done outdoors as the smoke (not unlike that from burning poison ivy) contains urushiol droplets which can cause severe, sometimes life-threatening, reactions by irritating the lungs."
Thanks to http://en.wikipedia.org/wiki/Cashew
Another Cashew Factory and Shop is Methee Phuket which has two shops in Phuket Town.
กาหยี คืออะไร
แน่นอนว่าทุกคนต้องติดใจรสชาติความมันของกาหยีหรือเม็ดมะม่วงหิมพานต์ตามภาษาไทยกลาง แม้ว่ามันจะมีราคาแพงขนาดไหน มาถึงพังงาทีไรถนนเรียบอันดามันหมายเลข ๔ เส้นตะกั่วป่า - ชายทะเลเขาหลัก บริเวณบ้านบางม่วงอันเป็นแหล่งคั่วกาหยีขาย เราจะเห็นกาหยีคั่วบรรจุถุงห้อยเรียงรายสองข้างทาง ราคาก็แตกต่างกันไป ชนิดไม่มีเปลือกและไม่มีเปลือก
วิธีการคั่วก็แสนจะคลาสสิก อย่างเช่นที่อำเภอตะกั่วป่า พอถึงฤดูกาหยีเมื่อไหร่ก็จะเห็นชาวบ้านออกมาตั้งกะทะคั่วกาหยีกันจนควันคลุ้งไปทั่ว ตัวกระทะสำหรับคั่วกาหยีนั้นต้องเจาะรูไว้ตรงก้น เพื่อให้ยางกาหยีไหลออกมาตอนคั่ว เวลาคั่วไม่ต้องนำกระทะ ไปตั้งไฟให้ร้อน วางตั้งทิ้งไว้เฉยๆ แต่ให้นำไม้ที่จะใช้คั่วกาหยีขนาดยาวพอประมาณไปจุดติดไฟ พอไฟติดที่ปลายไม้ก็ให้ใช้ไม้นั้นคนไปที่กาหยี เท่านั้นมันก็จะติดไฟขึ้นมาพรึบพรับภายในกระทะ เพราะยางเหนียวจากกาหยีทำให้ติดไฟอยู่ตลอดเวลา เมื่อคั่วจนได้ที่แล้วก็คว่ำกระทะแล้วใช้ไม้ที่ใช้คั่วเขี่ยๆ ให้ไฟดับ ทิ้งไว้รอให้เย็น เวลาทานก็ใช้ก้อนหินทุบให้เปลือกมันแตกออก แล้วบิกินเนื้อใน ส่วนกาหยีที่นำมาขายจะนำไปอบอีกครั้งหลังจากคั่วเสร็จ เราะมันจะกรอบและมีกลิ่นหอมกว่า วิธีการคั่วท่านสามารถลองเองที่บ้านได้....
"กาหยี" ใคร ๆ ก็รู้จักมะม่วงหิมพานต์ ผลไม้ชนิดหนึ่งที่มีเมล็ดโผล่ออกมานอกผล แต่น้อยคนนักที่จะรู้จักว่าชื่อของมันนั้นได้รับการเรียกขานแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัดภาคใต้ อย่างเช่นพังงาหรือภูเก็ต เรียกกันว่า "กาหยี" จังหวัดระนอง "กาหยู" จังหวัดพัทลุง "หัวครก" ทางตรังจะเรียก "ยาร่วง" และทางแถบจังหวัดนครศรีธรรมราชเรียกกันสองแบบ "เล็ดล่อ" หรือ "ท้ายล่อ" แต่พอมาทางจังหวัดกระบี่กลับเรียกว่า "ยาโหย" ชื่อมันตามภาษาถิ่นก็คงไม่ไพเราะเพราะพริ้งเหมือนทางภาคกลางเรียก "เม็ดมะม่วงหิมพานต์"
ขอบคุณ http://takuapa.phangnga.doae.go.th/kahee.htm
อ่านต่อ Wikipedia
Sribhurapa Cashew Nut Shop. Tanon Kwang |
The nut ( technically a seed) has a hard shell that needs to be prised open and, if that was not hard enough, the sap can cause skin irritation and lung reactions during roasting.
"The seed is surrounded by a double shell containing an allergenic phenolic resin, anacardic acid, a potent skinirritant chemically related to the more well known allergenic oil urushiol which is also a toxin found in the related poison ivy. Properly roasting cashews destroys the toxin, but it must be done outdoors as the smoke (not unlike that from burning poison ivy) contains urushiol droplets which can cause severe, sometimes life-threatening, reactions by irritating the lungs."
Thanks to http://en.wikipedia.org/wiki/Cashew
The dried nuts are used in cooking many Thai dishes, probably the most famous being Chicken and Cashew Nuts. Cashew nuts are known in Thai as Met Mamuang Himapant (เม็ดะม่วงหิมพานต์) but here in Phuket the raw cashews that are used in curries are known as Met Ga-yee (เม็ดกาหยี). The young leaves of the tree can also be eaten raw with chilli dips or as a salad.
I visited the Sribhurapa Orchid Company Cashew Factory in Tanon Kwang, Chalong which gives a demonstration as well as selling lots of different Cashew products including Cashew Juice, made from the fruit, salted Cashew Nuts as well as a variety of Cashew Cookies. The shop also has a wide variety of other food products and some souvenirs.
Another Cashew Factory and Shop is Methee Phuket which has two shops in Phuket Town.
กาหยี คืออะไร
แน่นอนว่าทุกคนต้องติดใจรสชาติความมันของกาหยีหรือเม็ดมะม่วงหิมพานต์ตามภาษาไทยกลาง แม้ว่ามันจะมีราคาแพงขนาดไหน มาถึงพังงาทีไรถนนเรียบอันดามันหมายเลข ๔ เส้นตะกั่วป่า - ชายทะเลเขาหลัก บริเวณบ้านบางม่วงอันเป็นแหล่งคั่วกาหยีขาย เราจะเห็นกาหยีคั่วบรรจุถุงห้อยเรียงรายสองข้างทาง ราคาก็แตกต่างกันไป ชนิดไม่มีเปลือกและไม่มีเปลือก
วิธีการคั่วก็แสนจะคลาสสิก อย่างเช่นที่อำเภอตะกั่วป่า พอถึงฤดูกาหยีเมื่อไหร่ก็จะเห็นชาวบ้านออกมาตั้งกะทะคั่วกาหยีกันจนควันคลุ้งไปทั่ว ตัวกระทะสำหรับคั่วกาหยีนั้นต้องเจาะรูไว้ตรงก้น เพื่อให้ยางกาหยีไหลออกมาตอนคั่ว เวลาคั่วไม่ต้องนำกระทะ ไปตั้งไฟให้ร้อน วางตั้งทิ้งไว้เฉยๆ แต่ให้นำไม้ที่จะใช้คั่วกาหยีขนาดยาวพอประมาณไปจุดติดไฟ พอไฟติดที่ปลายไม้ก็ให้ใช้ไม้นั้นคนไปที่กาหยี เท่านั้นมันก็จะติดไฟขึ้นมาพรึบพรับภายในกระทะ เพราะยางเหนียวจากกาหยีทำให้ติดไฟอยู่ตลอดเวลา เมื่อคั่วจนได้ที่แล้วก็คว่ำกระทะแล้วใช้ไม้ที่ใช้คั่วเขี่ยๆ ให้ไฟดับ ทิ้งไว้รอให้เย็น เวลาทานก็ใช้ก้อนหินทุบให้เปลือกมันแตกออก แล้วบิกินเนื้อใน ส่วนกาหยีที่นำมาขายจะนำไปอบอีกครั้งหลังจากคั่วเสร็จ เราะมันจะกรอบและมีกลิ่นหอมกว่า วิธีการคั่วท่านสามารถลองเองที่บ้านได้....
"กาหยี" ใคร ๆ ก็รู้จักมะม่วงหิมพานต์ ผลไม้ชนิดหนึ่งที่มีเมล็ดโผล่ออกมานอกผล แต่น้อยคนนักที่จะรู้จักว่าชื่อของมันนั้นได้รับการเรียกขานแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัดภาคใต้ อย่างเช่นพังงาหรือภูเก็ต เรียกกันว่า "กาหยี" จังหวัดระนอง "กาหยู" จังหวัดพัทลุง "หัวครก" ทางตรังจะเรียก "ยาร่วง" และทางแถบจังหวัดนครศรีธรรมราชเรียกกันสองแบบ "เล็ดล่อ" หรือ "ท้ายล่อ" แต่พอมาทางจังหวัดกระบี่กลับเรียกว่า "ยาโหย" ชื่อมันตามภาษาถิ่นก็คงไม่ไพเราะเพราะพริ้งเหมือนทางภาคกลางเรียก "เม็ดมะม่วงหิมพานต์"
ขอบคุณ http://takuapa.phangnga.doae.go.th/kahee.htm
อ่านต่อ Wikipedia
No comments:
Post a Comment