Phuket Provincial Office or Sala Klang Phuket

Architecture in Phuket
Architecture in Phuket

I cannot complete this blog without mentioning the Phuket Provincial Office. I have been in and out of there on different occasions since I first arrived in Phuket, and it paid a central part in the role of organising welfare donations during the Tsunami of 2004. At that time I spent several days driving back and forth with my staff trying to get the compensation they were entitled to, as well as looking after my own claim. It was a frustrating process due to the numbers of people and the lack of time they had had to organise a system in Phuket's first disaster. In all those visits I never thought of taking a photo of the building, however beautiful it's architecture is. I guess it seemed that it would always be there, a symbol of colonial days. So when I read an article http://phuketwan.com/property/phukets-provincial-hall-design-helicopter-topping-16195/ mentioning the plans for an all new Provincial Hall I started to think it was time to record the historic building while it is still in the active role of a Government Office. I am sure the building will be renovated and turned into a museum, education centre or something along those lines, but then it won't be the same for me.

Architecture in Phuket

The building was erected by Tung Ka Compound Company (บริษัททุ่งคาคอมปาวนด์) under the instruction of Phraya Ratsdanupradit  พระยารัษฎานุประดิ ษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) in exchange for a tin mining concession in 1910. The company employed an Italian builder to design and oversee the building work and the Provincial Hall was to become well known as the first reinforced concrete building in Thailand. It's European style made this Government building different to Government Buildings in other provinces, with smaller posts and originally 99 doors. The walls are decorated with carved teak ventilating panels featuring vase and tulip like shapes and in 1977 it became the first building in Phuket to receive a national conservation award from the Fine Arts Department.


Architecture in Phuket
Architecture in Phuket
Architecture in Phuket
Architecture in Phuket



Within the grounds are other Government offices including the Or Bor Jor Building. 


Architecture in Phuket

 In front of the building stands a monument of King Rama 5th (Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Chulalongkorn Phra Chunla Chom Klao Chao Yu Hua) erected by the people of Phuket in 1982 to honour the 200th anniversary of the Rattanakosin Period.

King Rama VKing Rama VKing Rama V

The Provincial Office featured in the film 'The Killing Fields' as the French Embassy in Cambodia.

Thanks to: http://61.19.27.150/~library/libra/salaklang.htm and http://www.phuket.go.th/webpk/contents.php?str=introduce_house


ประวัติศาลากลางจังหวัดภูเก็ต
ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียน และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๐ ให้เป็นโบราณสถาน สร้างขึ้นในสมัยที่พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต คือ ระหว่าง พ.ศ.๒๔๕๐-๒๔๕๖ พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี ได้กำหนดให้บริษัททุ่งคาคอมเปาต์เป็นผู้สร้างให้ เพื่อแลกเปลี่ยน กับการอนุญาตให้ประทานบัตรในการขุดแร่ ณ ที่ทำการรัฐบาลเก่าบริเวณถนนหลวงพ่อวัดฉลอง ถนนพังงา ถนนสุรินทร์ และถนนสุทัศน์ (หรือที่ดินบริเวณด้านหน้าไปรษณีย์โทรเลขจังหวัดภูเก็ตในปัจจุบัน) ซึ่งทำให้ไม่ต้องใช้งบประมาณแผ่นดินในการก่อสร้าง และบริษัททุ่งคาคอมเปาต์ได้ ให้ช่างชาวอิตาเลี่ยนเป็นผู้ออกแบบ และควบคุมการก่อสร้าง ดังนั้นศาลากลางจังหวัดภูเก็ตจึงเป็นอาคารที่มีสถาปัตยกรรมแบบยุโรป และเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังแรกของประเทศไทยที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น (หนังสืออนุสรณ์ ๒๐๐ ปี วีรสตรีเมืองถลาง,๒๕๒๘) นอกจากนี้ยังเป็นศาลากลาง ที่สร้างได้แปลก และแตกต่างไปจากศาลากลางจังหวัดอื่น ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ตั้งอยู่บนเนินเขาโต๊ะแซะบริเวณด้านหน้าติดกับถนนนริศร ด้านขวาติดกับถนนสุรินทร์ และด้านหลังติดกับถนนดำรง เป็นอาคารไม้สักสองชั้น มีลักษณะเป็นคอร์ต(court) คือ อาคารที่ล้อมรอบเป็นสี่เหลี่ยม ตรงกลางเป็นลานกว้างเปิดโล่งไม่มีหลังคา ทำเป็นสวนหย่อม มีระเบียงรอบอาคารทั้งด้านนอก และด้านใน เดินรอบอาคารได้ทั้งสองชั้น พื้นอาคารชั้นล่างสูงกว่าพื้นดิน ๕ ขั้นบันได เสาอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด ๑๕ x ๒๐ ซม. ในขณะที่อาคารอื่น ๆ ที่สร้างในสมัยเดียวกัน จะมีเสาขนาดใหญ่ตั้งแต่ ๖๐ x ๖๐ ซม.ขึ้นไป การตกแต่งมุมเสาด้านบนตกแต่งด้วยไม้สักฉลุลวดลาย และที่เด่นสำหรับ อาคารหลังนี้ คือ เป็นอาคารที่ประกอบด้วยประตูทั้งหมด จำนวน ๙๙ ประตู แต่จะไม่มีหน้าต่าง ต่อมาในภายหลังได้มีการต่อเติมหน้าต่าง จำนวน ๒ บาน ทางมุขด้านหลังของอาคาร การตกแต่งประตูของอาคารนั้น ด้านบนของแต่ละประตูตกแต่งด้วยไม้สักฉลุเป็นลวดลายคล้ายดอกทิวลิป และสำหรับอาคารชั้นล่างนอกจากจะมีการตกแต่งประตูแบบดังกล่าวแล้ว เหนือขึ้นไปจากประตูได้ทำเป็นช่องลมเพิ่มขึ้น และตกแต่งด้วยไม้สัก ขนาดใหญ่กว่าฉลุเป็นลวดลายรูปดอกไม้อยู่ในแจกัน
คอบคุณ
http://www.phuket.go.th/webpk/contents.php?str=introduce_house

http://61.19.27.150/~library/libra/salaklang.htm

No comments:

Post a Comment