In the past sea traders from India and Sri Lanka came to Phuket leaving behind them a tradition of Hindu beliefs and customs. It is easy to see the Brahmin influence in many of the ceremonies in Thailand today. So it is not surprising to see images of Brahma (The God of Creation) or Yama พระราหู The God of Death) at Temples such as Wat Kao Rang.
Wat Kao Rang was, like many other temples in Thailand, built by one of Phuket's most famous monks, Luang Pu Supha, after spending many years at Wat Khao Rang, he now lives permanently in Wat Silsuparam ( Wat Mai Luang Pu Supha) in Chalong.
As usual I only ever get to these kind of places on a rainy day so the temple was almost deserted. It is not well known by tourists probably due to its location on a small windy hillside road that leads up from the side of Vachira Hospital to the hillside viewpoint and restaurants on Kao Rang (Rang Hill). See map by slicking the location link at the bottom of this post.
The main temple building has only just been completed and stands next to the older Big Buddha, the first Big Buddha of Phuket.
I saw a small carved doorway open at the back of the base of the Big Buddha image and went to see why. It was really low and I had to almost crawl through it but inside was a small shrine. Quite unexpected!
It was a very peaceful place with detailed architecture on the new temple building. Do go inside even if it is just to look at the beautiful murals.
If your visiting this temple the best way to finish the trip is with a look at the view form Kao Rang and a meal at Tung Ka Cafe or Kao Rang Breeze.
This unusual mural shows the Kings of Thailand from Rama 1 to present day.
ขอบคุณ http://live.phuketindex.com/th/wat-khao-rang-143.html
วัดเขารังสามัคคีธรรม (หรือสำนักสงฆ์เขารัง) ตั้งอยู่บนเนินเขารัง จังหวัดภูเก็ต มีจุดเด่นอยู่ที่พระพุทธรูปสีทองขนาดใหญ่ รายล้อมด้วยแมกไม้เขียวชอุ่ม และวิวภูเขา อีกทั้งยังเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง และเป็นที่ซึ่งพุทธศาสนิกชนในภูเก็ตแวะเวียนมาไหว้พระสวดมนต์ วัดแห่งนี้มีสองส่วน คือส่วนแรกสร้างอาคารขึ้นเพื่อประดิษฐานองค์พระพุทธรูปอยู่บนหลังคา และอีกส่วนที่ตั้งอยู่ติดกันก็คือพระอุโบสถ
ที่ตั้ง: อยู่เชิงเขารัง ทางเข้าสี่แยกโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ต.รัษฎา อ.เมืองภูเก็ต
ขอบคุณ ประวัติหลวงปู่สุภา
หลวงปู่สุภา ธุดงค์ไปตามที่ต่าง ๆ จนลืมไปว่าท่านเคยมาพักอยู่ที่ภูเก็ต เมื่อท่านระลึกได้จึงเดินทางกลับมาที่เขารังที่ท่านเคยปักกลดและขอซื้อที่ดินทำวัด แต่เจ้าของปฏิเสธ มาคราวนี้กาลเวลาเปลี่ยนไป หลวงปู่สุภา ในวัย ๘๔ ปี รู้สึกว่าเขารังที่เคยเป็นดินแดนสงบ ถูกความเจริญรุกไล่จนกลายเป็นสวนสาธารณะแล้ว ทางเหนือได้กลายเป็นโรงพยาบาลวชิระ โรงพยาบาลประจำเกาะภูเก็ต ด้านหลังของโรงพยาบาล ที่ติดกับเขารังทางด้านเหนือได้ทำเป็นสถานที่เก็บศพ เล่าลือว่าผีดุ หลวงปู่สุภา จึงไปปักกลดที่นั่น มีศิษย์ที่เคยรู้จักท่านพบเข้าจึงเล่าลือกันปากต่อปาก มีศรัทธาสาธุชนเพิ่มมากขึ้น และทุกคนเห็นพ้องว่าท่านอายุ ๘๔ แล้ว สังขารมีแต่ชราและอาพาธบ่อย ๆ เกรงว่าหากแบกกลดธุดงค์ ตะลอนไปเรื่อย ๆ ก็คงมรณภาพกลางทางเข้าสักวัน จึงนิมนต์ให้หลวงปู่อยู่กับที่ โดยได้ขอซื้อที่ดินจากเจ้าของที่จะขายให้ ๑ ไร่เศษ นอกจากนั้น เจ้าของไม่ยินดีให้ความร่วมมือ จึงทำการสร้างวัดไม่ได้ เพราะ พ.ร.บ. การปกครองคณะสงฆ์ระบุไว้ชัดว่า จะสร้างวัดต้องมีเนื้อที่ไม่ต่ำกว่า ๖ ไร่ จึงต้องสร้างสำนักสงฆ์ขึ้น และตั้งชื่อตามนามของท่านเจ้าของที่ดินดั้งเดิม คือ “ สำนักสงฆ์เทพขจรจิตร ” โดยได้มาจากส่วนหนึ่งของบรรดาศักดิ์ท่านเจ้าของคือ “ หมื่นขจรจิตรพงษ์ประดิษฐ์ ” และ หลวงปู่สุภา เล็งเห็นว่า หากต้องการสร้างความสงบให้แก่เขารังและแก่จังหวัดภูเก็ต ต้องสร้างพระพุทธรูปปางประทานพรไว้บนยอดเขารัง โดยออกแบบให้มีส่วนฐานขององค์พระขึ้นไปจากหลังคาสำนักสงฆ์ โดยช่างรับเหมาระบุราคาไว้ ๒๐ ล้านบาท แต่ด้วยท่านอาศัยบารมีธรรมและการสงเคราะห์จากลูกศิษย์ จนในที่สุด จึงสร้างพระพุทธรูปนั่งที่ใหญ่ที่สุดในเกาะภูเก็ต มองเห็นได้แต่ไกลได้สำเร็จ
วัดเขารังสามัคคีธรรม (หรือสำนักสงฆ์เขารัง) ตั้งอยู่บนเนินเขารัง จังหวัดภูเก็ต มีจุดเด่นอยู่ที่พระพุทธรูปสีทองขนาดใหญ่ รายล้อมด้วยแมกไม้เขียวชอุ่ม และวิวภูเขา อีกทั้งยังเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง และเป็นที่ซึ่งพุทธศาสนิกชนในภูเก็ตแวะเวียนมาไหว้พระสวดมนต์ วัดแห่งนี้มีสองส่วน คือส่วนแรกสร้างอาคารขึ้นเพื่อประดิษฐานองค์พระพุทธรูปอยู่บนหลังคา และอีกส่วนที่ตั้งอยู่ติดกันก็คือพระอุโบสถ
ที่ตั้ง: อยู่เชิงเขารัง ทางเข้าสี่แยกโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ต.รัษฎา อ.เมืองภูเก็ต
ขอบคุณ ประวัติหลวงปู่สุภา
หลวงปู่สุภา ธุดงค์ไปตามที่ต่าง ๆ จนลืมไปว่าท่านเคยมาพักอยู่ที่ภูเก็ต เมื่อท่านระลึกได้จึงเดินทางกลับมาที่เขารังที่ท่านเคยปักกลดและขอซื้อที่ดินทำวัด แต่เจ้าของปฏิเสธ มาคราวนี้กาลเวลาเปลี่ยนไป หลวงปู่สุภา ในวัย ๘๔ ปี รู้สึกว่าเขารังที่เคยเป็นดินแดนสงบ ถูกความเจริญรุกไล่จนกลายเป็นสวนสาธารณะแล้ว ทางเหนือได้กลายเป็นโรงพยาบาลวชิระ โรงพยาบาลประจำเกาะภูเก็ต ด้านหลังของโรงพยาบาล ที่ติดกับเขารังทางด้านเหนือได้ทำเป็นสถานที่เก็บศพ เล่าลือว่าผีดุ หลวงปู่สุภา จึงไปปักกลดที่นั่น มีศิษย์ที่เคยรู้จักท่านพบเข้าจึงเล่าลือกันปากต่อปาก มีศรัทธาสาธุชนเพิ่มมากขึ้น และทุกคนเห็นพ้องว่าท่านอายุ ๘๔ แล้ว สังขารมีแต่ชราและอาพาธบ่อย ๆ เกรงว่าหากแบกกลดธุดงค์ ตะลอนไปเรื่อย ๆ ก็คงมรณภาพกลางทางเข้าสักวัน จึงนิมนต์ให้หลวงปู่อยู่กับที่ โดยได้ขอซื้อที่ดินจากเจ้าของที่จะขายให้ ๑ ไร่เศษ นอกจากนั้น เจ้าของไม่ยินดีให้ความร่วมมือ จึงทำการสร้างวัดไม่ได้ เพราะ พ.ร.บ. การปกครองคณะสงฆ์ระบุไว้ชัดว่า จะสร้างวัดต้องมีเนื้อที่ไม่ต่ำกว่า ๖ ไร่ จึงต้องสร้างสำนักสงฆ์ขึ้น และตั้งชื่อตามนามของท่านเจ้าของที่ดินดั้งเดิม คือ “ สำนักสงฆ์เทพขจรจิตร ” โดยได้มาจากส่วนหนึ่งของบรรดาศักดิ์ท่านเจ้าของคือ “ หมื่นขจรจิตรพงษ์ประดิษฐ์ ” และ หลวงปู่สุภา เล็งเห็นว่า หากต้องการสร้างความสงบให้แก่เขารังและแก่จังหวัดภูเก็ต ต้องสร้างพระพุทธรูปปางประทานพรไว้บนยอดเขารัง โดยออกแบบให้มีส่วนฐานขององค์พระขึ้นไปจากหลังคาสำนักสงฆ์ โดยช่างรับเหมาระบุราคาไว้ ๒๐ ล้านบาท แต่ด้วยท่านอาศัยบารมีธรรมและการสงเคราะห์จากลูกศิษย์ จนในที่สุด จึงสร้างพระพุทธรูปนั่งที่ใหญ่ที่สุดในเกาะภูเก็ต มองเห็นได้แต่ไกลได้สำเร็จ
No comments:
Post a Comment